Search
Close this search box.

หารือความร่วมมือด้านสารต้องห้ามทางการกีฬาและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน

ดร.สมศักดิ์ ลีสวัสดิ์ตระกูล ประธานคณะกรรมการอำนวยการศูนย์ตรวจสอบสารต้องห้ามในนักกีฬา และ นางสาวบูรณรัตน์ ทรงพันธุ์ รองผู้อำนวยการฝ่ายบริหารและวิเทศสหการ สถาบันวิทยาศาสตร์การวิเคราะห์และตรวจสารในการกีฬา ได้เข้าพบกับ Dr. Mayumi Yaya Yamamoto ผู้อำนวยการองค์การองค์การต่อต้านการใช้สารต้องห้ามโลก ประจำสำนักงานภูมิภาคเอเชีย โอเชียเนีย (โตเกียว) (Director WADA Asia/Oceania Office (Tokyo) และ Ms. Olympia Karavasille รองผู้อำนวยการฝ่ายส่งเสริมความร่วมมือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียองค์กรต่อต้านการใช้สารต้องห้ามโลก (Deputy Director for Stakeholder Engagement and Partnership of WADA) ในโอกาสที่ผู้แทน WADA ทั้ง 2 ท่าน เข้าพบ ดร.ก้องศักด ยอดมณี ผู้ว่าการการกีฬาแห่งประเทศไทย (กกท.) เพื่อหารือความร่วมมือด้านสารต้องห้ามทางการกีฬาและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน ในการขับเคลื่อนองค์กรให้ก้าวไปข้างหน้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ ณ ห้องประชุมชั้น 11 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา การกีฬาแห่งประเทศไทย

สำหรับการหารือในครั้งนี้ เป็นการหารือเรื่องความร่วมมือของภาครัฐในการดำเนินงานด้านสารต้องห้ามทางการกีฬา, การส่งเงินสมทบ (Contribution) ให้กับองค์กรต่อต้านการใช้สารต้องห้ามโลก (WADA: World Anti-Doping Agency) ที่ประเทศไทยมีพันธะกิจต้องช่วยสนับสนุนด้านการเงินให้กับองค์กรฯ, การพูดคุยถึงการดำเนินงานที่เป็นอิสระของสำนักควบคุมการใช้สารต้องห้ามทางการกีฬาและศูนย์ตรวจสอบสารต้องห้ามในนักกีฬาของมหาวิทยาลัยมหิดล ปัญหาในการจ่ายเงินค่าตรวจหาสารต้องห้ามให้กับศูนย์ตรวจสอบสารต้องห้ามในนักกีฬาของมหาวิทยาลัยมหิดล, ความต้องการให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการดำเนินงานด้านสารต้องห้ามในภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และการลงนาม MOU ระหว่างกัน รวมถึงการเดินทางศึกษาดูงานในต่างประเทศเพื่อศึกษาตัวอย่างที่เป็น Best Practice อีกด้วย

เวลา 14:00น. PG.MOHD. AMIRRIZAL PG HJ MAH MUD, ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม เยาวชน และกีฬาประเทศบรูไน (Ministry of Culture, Youth and Sports, Brunei Darussalam) และ Mr.Sukardi Bin Kaderi คณะกรรมการองค์กรต่อต้านการใช้สารต้องห้ามทางการกีฬาประจำประเทศบรูไน (Brunei Darussalam Anti-Doping Committee) ได้เข้ามาเยี่ยมชมศูนย์ตรวจสอบสารต้องห้ามในนักกีฬา สถาบันวิทยาศาสตร์การวิเคราะห์และตรวจสารในการกีฬา รวมทั้งการหารือแนวทางในการส่งตัวอย่างมาตรวจที่ศูนย์ตรวจสอบสารต้องห้ามในนักกีฬาในโอกาสต่อไปด้วย

ข้อตกลง หลักเกณฑ์การรับเรื่องร้องเรียน / แนะนำติชม

  1. ห้ามพาดพิงหรือเสนอแนะเนื้อหาอันเป็นการวิพากษ์วิจารณ์ หรือ พาดพิงสถาบันพระมหากษัตริย์
  2. ห้ามมีเนื้อหาที่ส่อไปในทางหยาบคาย คำด่า ข้อความลามกอนาจาร ข้อความที่ขัดต่อกฏหมาย หรือ ศีลธรรมอันดีงาม
  3. ห้ามพาดพิง หรือมีเจตนาก่อให้เกิดความเสียหาย และเสื่อมเสียต่อบุคคล กลุ่มบุคคล องค์กร
  4. กรุณากรอกข้อมูลตามความเป็นจริง เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการตรวจสอบข้อเท็จจริง และทางสถาบันฯ/มหาวิทยาลัย ใช้ข้อมูลนี้ในการติดต่อท่าน
  5. หากท่านร้องเรียนผ่านช่องทางนี้ ทางสถาบันฯ/มหาวิทยาลัย จะดำเนินการตามประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่อง แนวทางการจัดการข้อร้องเรียน พ.ศ 2560 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

คำแนะนำ

การติดต่อสอบถาม / ชมเชย / เสนอแนะ / ร้องเรียน ควรมีรายละเอียดให้ครบถ้วนตามที่กำหนด ดังนี้

  1. ควรป้อนข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ – สกุล ที่อยู่ โทรศัพท์ และ อีเมล (e-mail ) ของผู้ส่งที่สามารถติดต่อได้ให้ชัดเจน เพื่อประโยชน์ในการติดต่อกลับ และ ยืนยันข้อมูลการร้องเรียน หรือ ข้อเท็จจริงเพิ่มเติมให้ชัดเจน สามารถดำเนินการต่อไปได้ เพื่อรายงานผลกลับไปยังท่านต่อไป
  2. สำหรับข้อมูลของท่านจะถูกเก็บเป็นความลับอย่างที่สุด
  3. กรณีที่ไม่เปิดเผยชื่อ – สกุลจริง ถือว่าเป็น บัตรสนเท่ห์” ซึ่งหากไม่ระบุพยานหลักฐานชัดเจนเพียงพอที่จะดำเนินการสืบสวนข้อเท็จจริงได้ทางสถาบันฯ/มหาวิทยาลัยอาจไม่รับ หรือ ยกเรื่องร้องเรียนดังกล่าวขึ้นพิจารณาได้

การพิจารณาในการกำหนดชั้นความลับและคุ้มครองบุคคลที่เกี่ยวข้อง

การพิจารณาในการกำหนดชั้นความลับ และคุ้มครองบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น จะต้องปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544  และการส่งเรื่องให้หน่วยงานพิจารณานั้น ผู้ให้ข้อมูล ผู้ร้องและผู้ถูกร้อง อาจจะได้รับความเดือดร้อน เช่น ข้อร้องเรียนกล่าวโทษ ในเบื้องต้นให้ถือว่าเป็นความลับทางราชการ การแจ้งเบาะแสผู้มีอิทธิพล ต้องปกปิดชื่อและที่อยู่ผู้ร้อง หากไม่ปกปิดชื่อ ที่อยู่ ผู้ร้องจะต้องแจ้งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ และให้ความคุ้มครองแก่ผู้ร้องด้วย

ข้อตกลง หลักเกณฑ์การรับเรื่องร้องเรียน / แนะนำติชม

  1. ห้ามพาดพิงหรือเสนอแนะเนื้อหาอันเป็นการวิพากษ์วิจารณ์ หรือ พาดพิงสถาบันพระมหากษัตริย์
  2. ห้ามมีเนื้อหาที่ส่อไปในทางหยาบคาย คำด่า ข้อความลามกอนาจาร ข้อความที่ขัดต่อกฏหมาย หรือ ศีลธรรมอันดีงาม
  3. ห้ามพาดพิง หรือมีเจตนาก่อให้เกิดความเสียหาย และเสื่อมเสียต่อบุคคล กลุ่มบุคคล องค์กร
  4. กรุณากรอกข้อมูลตามความเป็นจริง เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการตรวจสอบข้อเท็จจริง และทางสถาบันฯ/มหาวิทยาลัย ใช้ข้อมูลนี้ในการติดต่อท่าน
  5. หากท่านร้องเรียนผ่านช่องทางนี้ ทางสถาบันฯ/มหาวิทยาลัย จะดำเนินการตามประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่อง แนวทางการจัดการข้อร้องเรียน พ.ศ 2560 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

คำแนะนำ

การติดต่อสอบถาม / ชมเชย / เสนอแนะ / ร้องเรียน ควรมีรายละเอียดให้ครบถ้วนตามที่กำหนด ดังนี้

  1. ควรป้อนข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ – สกุล ที่อยู่ โทรศัพท์ และ อีเมล (e-mail ) ของผู้ส่งที่สามารถติดต่อได้ให้ชัดเจน เพื่อประโยชน์ในการติดต่อกลับ และ ยืนยันข้อมูลการร้องเรียน หรือ ข้อเท็จจริงเพิ่มเติมให้ชัดเจน สามารถดำเนินการต่อไปได้ เพื่อรายงานผลกลับไปยังท่านต่อไป
  2. สำหรับข้อมูลของท่านจะถูกเก็บเป็นความลับอย่างที่สุด
  3. กรณีที่ไม่เปิดเผยชื่อ – สกุลจริง ถือว่าเป็น บัตรสนเท่ห์” ซึ่งหากไม่ระบุพยานหลักฐานชัดเจนเพียงพอที่จะดำเนินการสืบสวนข้อเท็จจริงได้ทางสถาบันฯ/มหาวิทยาลัยอาจไม่รับ หรือ ยกเรื่องร้องเรียนดังกล่าวขึ้นพิจารณาได้

การพิจารณาในการกำหนดชั้นความลับและคุ้มครองบุคคลที่เกี่ยวข้อง

การพิจารณาในการกำหนดชั้นความลับ และคุ้มครองบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น จะต้องปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544  และการส่งเรื่องให้หน่วยงานพิจารณานั้น ผู้ให้ข้อมูล ผู้ร้องและผู้ถูกร้อง อาจจะได้รับความเดือดร้อน เช่น ข้อร้องเรียนกล่าวโทษ ในเบื้องต้นให้ถือว่าเป็นความลับทางราชการ การแจ้งเบาะแสผู้มีอิทธิพล ต้องปกปิดชื่อและที่อยู่ผู้ร้อง หากไม่ปกปิดชื่อ ที่อยู่ ผู้ร้องจะต้องแจ้งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ และให้ความคุ้มครองแก่ผู้ร้องด้วย