Search
Close this search box.

แผนยุทธศาสตร์​ ปี 2565 – 2568

แผนยุทธศาสตร์
สถาบันวิทยาศาสตร์การวิเคราะห์และตรวจสารในการกีฬา
มหาวิทยาลัยมหิดล
ปี 2565 – 2568

ปณิธาน

ปัญญาของแผ่นดิน

Wisdom of the land

วิสัยทัศน์

ต่อยอดความรู้ด้านวิทยาศาสตร์การวิเคราะห์ เพื่อความก้าวหน้าทางการวิจัย

และนวัตกรรมที่นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตของพลเมืองโลก

พันธกิจ

จัดเตรียมสภาพแวดล้อมการทำงานที่ส่งเสริมการใช้

ศักยภาพและความเป็นตัวตนของบุคลากร

ที่มีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์การวิเคราะห์

เพื่อสร้างผลการวิจัยและบริการที่มีผลกระทบเชิงบวกระดับสากล

สมรรถนะหลัก

เชี่ยวชาญการใช้วิทยาศาสตร์การวิเคราะห์ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและ

ขีดความสามารถในการแข่งขัน ด้วยกิจกรรมการสอน วิจัย และบริการวิชาการ

ค่านิยมหลัก (Core Values) ใช้ค่านิยมของมหาวิทยาลัยมหิดล

M  =  Mastery
A  =  Altruism
H  =  Harmony
I  =  Integrity
D  =  Determination 
O  =  Originality
L  =  Leadership

รู้แจ้ง รู้จริง สมเหตุสมผล
มุ่งผลเพื่อผู้อื่น 
กลมกลืมกับสรรพสิ่ง 
มั่นคงยิ่งในคุณธรรม 
แน่วแน่ทํา กล้าตัดสินใจ 
สร้างสรรค์สิ่งใหม่ 
ใฝ่ใจเป็นผู้นํา

ยุทธศาสตร์ที่ 1: การวิจัย

เป้าประสงค์ (Goals)

  1. ยกระดับเทคโนโลยีในการตรวจวิเคราะห์สารต้องห้ามในการกีฬา
  2. สร้างผลงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์การวิเคราะห์ที่มีคุณภาพระดับสากล

วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ (Strategic Goals)

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพทางการวิจัยและการสร้างนวัตกรรมของสถาบันฯ
  2. พัฒนาเทคนิควิเคราะห์ใหม่สำหรับรองรับการตรวจสารต้องห้ามในการกีฬาตามข้อกำหนดของ WADA

กลยุทธ์ (Strategic Initiatives)

  1. นำเข้าทีมวิจัยศักยภาพสูงด้านวิทยาศาสตร์การวิเคราะห์
  2. สร้างพันธมิตรวิจัยทั้งระดับชาติ และนานาชาติ

ตัวชี้วัด Corporate KPIs ตามแผนยุทธศาสตร์ ปี 2565 2568 ที่ตรงกับตัวชี้วัดของมหาวิทยาลัย

ตัวชี้วัด
ชื่อตัวชี้วัด
1.1
International Publication (per year) (จำนวนบทความตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับ นานาชาติ)
1.2
International Publication in Q1 (per year) (จำนวนผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารที่อยู่ใน Q1)
1.3
International Publication in Q1 per Academic Staff (จำนวนผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารที่อยู่ใน Q1 ต่อบุคลากรสายวิชาการ)
1.4
International Publication in Top10 (per year) (จำนวนผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารที่อยู่ใน Top10)
1.5
International Publication in Top1 (per year) (จำนวนผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารที่อยู่ใน Top1)
1.6
International Collaboration (per year) (จำนวนผลงานวิจัยตีพิมพ์ร่วมกับสถาบัน/นักวิจัยสังกัดอื่นในระดับนานาชาติ)
1.7
Corporate Collaboration (per year) (จำนวนตีพิมพ์ร่วมกับภาคอุตสาหกรรม)
1.8
SDG-related Publication (per year)
1.9
PREP-certified Academic Staff (ร้อยละของอาจารย์/นักวิจัยที่ผ่านหลักสูตรส่งเสริมศักยภาพนักวิจัย (PREP)
• จำนวนบุคลากรสายวิชาการที่ผ่านโครงการ PREP
• จำนวนบุคลากรสายวิชาการทั้งหมดของส่วนงาน

ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย (KPIs and Targets)

ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์
หน่วยนับ
ค่าเป้าหมาย
ปี 2565
ปี 2566
ปี 2567
ปี 2568
1.1
International Publication (per year) (จำนวนบทความตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับ นานาชาติ)
เรื่อง
4
6
7
8
1.2
International Publication in Q1 (per year) (จำนวนผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารที่อยู่ใน Q1)
เรื่อง
2
3
4
5
1.3
International Publication in Q1 per Academic Staff (จำนวนผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารที่อยู่ใน Q1 ต่อบุคลากรสายวิชาการ)
เรื่อง/คน
N/T
0.80
0.90
1.00
1.4
International Publication in Top10 (per year) (จำนวนผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารที่อยู่ใน Top10)
เรื่อง
N/T
N/T
1
2
1.5
International Publication in Top1 (per year) (จำนวนผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารที่อยู่ใน Top1)
เรื่อง
N/T
N/T
N/T
N/T
1.6
International Collaboration (per year) (จำนวนผลงานวิจัยตีพิมพ์ร่วมกับสถาบัน/นักวิจัยสังกัดอื่นในระดับนานาชาติ)
เรื่อง
1
3
3
3
1.7
Corporate Collaboration (per year) (จำนวนตีพิมพ์ร่วมกับภาคอุตสาหกรรม)
เรื่อง
N/T
N/T
N/T
N/T
1.8
SDG-related Publication (per year)
เรื่อง
N/T
4
4
4
1.9
PREP-certified Academic Staff (ร้อยละของอาจารย์/นักวิจัยที่ผ่านหลักสูตรส่งเสริมศักยภาพนักวิจัย (PREP)
ร้อยละ
N/T
50
50
50
• จำนวนบุคลากรสายวิชาการที่ผ่านโครงการ PREP
• จำนวนบุคลากรสายวิชาการทั้งหมดของส่วนงาน
โครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ สถาบันวิทยาศาสตร์การวิเคราะห์และตรวจสารในการกีฬา
ลำดับ
โครงการ
ผู้รับผิดชอบ
1
โครงการ “งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์สารต้องห้ามในอนาคต”
สำนักงานวิชาการ
ศูนย์ตรวจสอบสารต้องห้าม
2
โครงการ “การสร้างความร่วมมือวิจัยกับหน่วยงานอื่น (Engagement) ที่มีศักยภาพในการผลักดันผลงานวิจัยที่มี Global Impact และตอบโจทย์ SDGs”
สำนักงานวิชาการ
ศูนย์ตรวจสอบสารต้องห้าม
3
โครงการ “พัฒนาห้องปฏิบัติการให้สามารถสร้างผลงานระดับ Global Impact และการบรรลุเป้าหมาย SDGs”
สำนักงานวิชาการ
4
โครงการ “สร้างทีมวิจัยที่สร้างผลงานระดับ Global Impact”
สำนักงานวิชาการ

ยุทธศาสตร์ที่ 2: การศึกษา

เป้าประสงค์ (Goals)

  1. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อให้มีทักษะที่สอดคล้องกับความต้องการของโลกปัจจุบัน
  2. ส่งเสริมเป้าประสงค์ยุทธศาสตร์การวิจัยด้วยกิจกรรมการศึกษา

วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ (Strategic Goals)

  1. ยกระดับทักษะการสร้างโจทย์วิจัย การวางแผนปฏิบัติงาน การทำงานเป็นทีม และการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักวิทยาศาสตร์ภายในสถาบันฯ
  2. สร้างสิ่งแวดล้อมการวิจัยที่ส่งเสริมการเรียนรู้และการเข้าถึงข้อมูลที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน

กลยุทธ์ (Strategic Initiatives)

  1. เพิ่มจำนวนนักศึกษาในแผนการศึกษา ที่ใช้ผลงานตีพิมพ์นานาชาติเป็นเกณฑ์สำเร็จการศึกษา
  2. สร้างพันธมิตรด้านการศึกษาและวิจัยเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
  3. การประชาสัมพันธ์หลักสูตร

ตัวชี้วัด Corporate KPIs ตามแผนยุทธศาสตร์ ปี 2565 2568 ที่ตรงกับตัวชี้วัดของมหาวิทยาลัย

ตัวชี้วัด
ชื่อตัวชี้วัด
2.1
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำในองค์กรระดับชาติและนานาชาติจากการสนับสนุนของ Career Support Services
2.2
จำนวนโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมความเป็นนานาชาติ ครบทั้ง 3 ด้าน (ด้านการศึกษา ด้านการวิจัย และด้านการเคลื่อนย้ายนักศึกษา)

ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย (KPIs and Targets)

ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์
หน่วยนับ
ค่าเป้าหมาย
ปี 2565
ปี 2566
ปี 2567
ปี 2568
2.1
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำในองค์กรระดับชาติและนานาชาติจากการสนับสนุนของ Career Support Services
คน
N/T
N/T
2
2
2.2
จำนวนโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมความเป็นนานาชาติ ครบทั้ง 3 ด้าน (ด้านการศึกษา ด้านการวิจัย และด้านการเคลื่อนย้ายนักศึกษา)
โครงการ
N/T
1
1
1
โครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ สถาบันวิทยาศาสตร์การวิเคราะห์และตรวจสารในการกีฬา
ลำดับ
โครงการ
ผู้รับผิดชอบ
1
โครงการ “การประชาสัมพันธ์หลักสูตรเชิงรุกระดับบัณฑิตศึกษา”
สำนักงานวิชาการ
2
โครงการ “พัฒนาบุคลากร โดยการจัดสรรทุนการศึกษาเพื่อการเรียนการสอน”
สำนักงานวิชาการ
3
โครงการ “พัฒนาบุคลากร โดยการอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับเครื่องมือการวิเคราะห์”
สำนักงานวิชาการ
ศูนย์ตรวจสอบสารต้องห้าม

ยุทธศาสตร์ที่ 3: การบริการวิชาการ

เป้าประสงค์ (Goals)

เพื่อส่งเสริมศักยภาพการบริการตรวจหาสารต้องห้ามในนักกีฬาในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ ที่ได้มาตรฐานระดับสากล และเป็นไปตามข้อกำหนดขององค์กรต่อต้านการใช้สารต้องห้ามโลก (WADA)

วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ (Strategic Goals)

  1. พัฒนาศักยภาพของนักวิทยาศาสตร์ เพื่อรองรับการตรวจวิเคราะห์สารต้องห้ามในนักกีฬาให้เป็นไปตามข้อกำหนดของ WADA
  2. ขยายฐานการตลาดในกลุ่มประเทศเอเชียอาคเนย์

กลยุทธ์ (Strategic Initiatives)

  1. ส่งเสริมความรู้เชิงทฤษฎีและทักษะการปฏิบัติงานด้านการตรวจสารต้องห้ามและระบบคุณภาพจากห้องปฏิบัติการอื่นที่มีความเชี่ยวชาญ และได้รับการรับรองมาตรฐานจาก WADA ให้กับนักวิทยาศาสตร์
  2. ส่งเสริมการตลาดกับกลุ่มเป้าหมายที่อาจเป็นลูกค้าได้ (Potential Customer) ในกลุ่มประเทศเอเชียอาคเนย์

ตัวชี้วัด Corporate KPIs ตามแผนยุทธศาสตร์ ปี 2565 2568 ที่ตรงกับตัวชี้วัดของมหาวิทยาลัย

ตัวชี้วัด
ชื่อตัวชี้วัด
3.1
ร้อยละของหน่วยบริการวิชาการที่ได้รับใบรับรองมาตรฐานระดับชาติและนานาชาติ
3.2
จำนวนรายรับจากโครงการรับทำวิจัยและบริการวิชาการ

ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย (KPIs and Targets)

ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์
หน่วยนับ
ค่าเป้าหมาย
ปี 2565
ปี 2566
ปี 2567
ปี 2568
3.1
ร้อยละของหน่วยบริการที่ได้รับรองมาตรฐานระดับชาติและนานาชาติ
ร้อยละ
100
100
100
100
3.2
จำนวนรายรับจากโครงการรับทำวิจัยและบริการวิชาการ
บาท
36 ล้าน
30 ล้าน
30 ล้าน
30 ล้าน
โครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ สถาบันวิทยาศาสตร์การวิเคราะห์และตรวจสารในการกีฬา
ลำดับ
โครงการ
ผู้รับผิดชอบ
1
โครงการ “ยกระดับห้องปฏิบัติการให้เป็นไปตามมาตรฐาน WADA”
ศูนย์ตรวจสอบสารต้องห้าม
2
โครงการ “ตลาดเชิงรุก เพื่อเพิ่มจำนวนตัวอย่างตามข้อกำหนดมาตรฐาน WADA”
ศูนย์ตรวจสอบสารต้องห้าม
3
โครงการ “การพัฒนาระดับความรู้ความสามารถของของบุคลากร NDCC ในระดับปริญญาเอก”
ศูนย์ตรวจสอบสารต้องห้าม

ยุทธศาสตร์ที่ 4: การจัดการองค์กร

เป้าประสงค์ (Goals)

ระบบการบริหารที่ส่งเสริมประสิทธิภาพและความยั่งยืนในการดำเนินงานของสถาบันฯ

วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ (Strategic Goals)

  1. ปรับโครงสร้างและระบบปฏิบัติงานที่ตอบสนองต่อพันธกิจหลัก และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์
  2. ส่งเสริมความตระหนักของบุคลากรต่อประสิทธิภาพ และความยั่งยืนในการดำเนินงานของสถาบันฯ

กลยุทธ์ (Strategic Initiatives)

  1. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
  2. การพัฒนาความฉลาดทางด้านการเงิน (financial literacy)
  3. การนำระบบสารสนเทศเข้ามาจัดการข้อมูล

ตัวชี้วัด Corporate KPIs ตามแผนยุทธศาสตร์ ปี 2565 2568 ที่ตรงกับตัวชี้วัดของมหาวิทยาลัย

ตัวชี้วัด
ชื่อตัวชี้วัด
4.1
ร้อยละของจำนวนการจัดส่งข้อมูล Data Analytic ให้กับมหาวิทยาลัยตามระยะเวลาที่กำหนด (ตามแผนการจัดทำฐานข้อมูล Business Intelligence)
4.2
การรับรู้ พ.ร.บ. ข้อมูลส่วนบุคคล (Personal Data Protection Act : PDPA)
4.3
บุคลากรที่เป็น Global Talents
4.4
ค่า EBITDA
4.5
ค่า Net Income
4.6
ค่า ROA
4.7
ค่า Net Profit Margin
4.8
ร้อยละของห้องปฏิบัติการที่มีการใช้สารเคมีที่ได้รับมาตรฐานความปลอดภัย ESPRel
4.9
จำนวนกิจกรรมส่งเสริมความเป็นนานาชาติกับคู่พันธมิตรทางยุทธศาสตร์
4.10
คะแนนการประเมินผลลัพธ์รวมของ EdPEx

ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย (KPIs and Targets)

ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์
หน่วยนับ
ค่าเป้าหมาย
ปี 2565
ปี 2566
ปี 2567
ปี 2568
4.1
ร้อยละของจำนวนการจัดส่งข้อมูล Data Analytic ให้กับมหาวิทยาลัยตามระยะเวลาที่กำหนด
ร้อยละ
100
100
100
100
4.2
การรับรู้ พ.ร.บ. ข้อมูลส่วนบุคคล (Personal Data Protection Act : PDPA)
ร้อยละ
100
100
100
100
4.3
บุคลากรที่เป็น Global Talents สายวิชาการด้านการศึกษา
คน
N/T
1
2
2
บุคลากรที่เป็น Global Talents สายวิชาการด้านการวิจัย
คน
N/T
N/T
N/T
N/T
บุคลากรที่เป็น Global Talents สายสนับสนุน (นับเฉพาะกลุ่ม Talent)
ร้อยละ
75*
15
15
20
4.4
ค่า EBITDA
บาท
เป็นบวก
เป็นบวก
เป็นบวก
เป็นบวก
4.5
ค่า Net Income
บาท
เป็นบวก
เป็นบวก
เป็นบวก
เป็นบวก
4.6
ค่า ROA
ร้อยละ
5
5
5
5
4.7
ค่า Net Profit Margin
ร้อยละ
5
5
5
5
4.8
ร้อยละของห้องปฏิบัติการที่มีการใช้สารเคมีที่ได้รับมาตรฐานความปลอดภัย ESPRel
ร้อยละ
100
100
100
100
4.9
จำนวนกิจกรรมส่งเสริมความเป็นนานาชาติกับคู่พันธมิตรทางยุทธศาสตร์
กิจกรรม
2
2
2
2
4.10
คะแนนการประเมินผลลัพธ์รวมของ EdPEx
เพิ่มขึ้น 1 Band ย่อย
เพิ่มขึ้น 1 Band ย่อย
เพิ่มขึ้น 1 Band ย่อย

* การอบรมออนไลน์กับผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศเป็นประจำเป็นเวลา 2 ปีในช่วงสถานการณ์โควิด

โครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ สถาบันวิทยาศาสตร์การวิเคราะห์และตรวจสารในการกีฬา
ลำดับ
โครงการ
ผู้รับผิดชอบ
1
โครงการ “นำเกณฑ์ EdPEx มาพัฒนาองค์กร”
สำนักงานผู้อำนวยการ
2
โครงการ “โครงการพัฒนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติงาน”
สำนักงานผู้อำนวยการ
3
โครงการ “การอบรม เพื่อสร้างจิตสำนึกและ Growth Mindset ในการทำงานอย่างมีเป้าหมาย”
สำนักงานผู้อำนวยการ
4
โครงการ “การอบรมการใช้ Microsoft Office ในการทำงาน”
สำนักงานผู้อำนวยการ

ข้อตกลง หลักเกณฑ์การรับเรื่องร้องเรียน / แนะนำติชม

  1. ห้ามพาดพิงหรือเสนอแนะเนื้อหาอันเป็นการวิพากษ์วิจารณ์ หรือ พาดพิงสถาบันพระมหากษัตริย์
  2. ห้ามมีเนื้อหาที่ส่อไปในทางหยาบคาย คำด่า ข้อความลามกอนาจาร ข้อความที่ขัดต่อกฏหมาย หรือ ศีลธรรมอันดีงาม
  3. ห้ามพาดพิง หรือมีเจตนาก่อให้เกิดความเสียหาย และเสื่อมเสียต่อบุคคล กลุ่มบุคคล องค์กร
  4. กรุณากรอกข้อมูลตามความเป็นจริง เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการตรวจสอบข้อเท็จจริง และทางสถาบันฯ/มหาวิทยาลัย ใช้ข้อมูลนี้ในการติดต่อท่าน
  5. หากท่านร้องเรียนผ่านช่องทางนี้ ทางสถาบันฯ/มหาวิทยาลัย จะดำเนินการตามประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่อง แนวทางการจัดการข้อร้องเรียน พ.ศ 2560 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

คำแนะนำ

การติดต่อสอบถาม / ชมเชย / เสนอแนะ / ร้องเรียน ควรมีรายละเอียดให้ครบถ้วนตามที่กำหนด ดังนี้

  1. ควรป้อนข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ – สกุล ที่อยู่ โทรศัพท์ และ อีเมล (e-mail ) ของผู้ส่งที่สามารถติดต่อได้ให้ชัดเจน เพื่อประโยชน์ในการติดต่อกลับ และ ยืนยันข้อมูลการร้องเรียน หรือ ข้อเท็จจริงเพิ่มเติมให้ชัดเจน สามารถดำเนินการต่อไปได้ เพื่อรายงานผลกลับไปยังท่านต่อไป
  2. สำหรับข้อมูลของท่านจะถูกเก็บเป็นความลับอย่างที่สุด
  3. กรณีที่ไม่เปิดเผยชื่อ – สกุลจริง ถือว่าเป็น บัตรสนเท่ห์” ซึ่งหากไม่ระบุพยานหลักฐานชัดเจนเพียงพอที่จะดำเนินการสืบสวนข้อเท็จจริงได้ทางสถาบันฯ/มหาวิทยาลัยอาจไม่รับ หรือ ยกเรื่องร้องเรียนดังกล่าวขึ้นพิจารณาได้

การพิจารณาในการกำหนดชั้นความลับและคุ้มครองบุคคลที่เกี่ยวข้อง

การพิจารณาในการกำหนดชั้นความลับ และคุ้มครองบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น จะต้องปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544  และการส่งเรื่องให้หน่วยงานพิจารณานั้น ผู้ให้ข้อมูล ผู้ร้องและผู้ถูกร้อง อาจจะได้รับความเดือดร้อน เช่น ข้อร้องเรียนกล่าวโทษ ในเบื้องต้นให้ถือว่าเป็นความลับทางราชการ การแจ้งเบาะแสผู้มีอิทธิพล ต้องปกปิดชื่อและที่อยู่ผู้ร้อง หากไม่ปกปิดชื่อ ที่อยู่ ผู้ร้องจะต้องแจ้งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ และให้ความคุ้มครองแก่ผู้ร้องด้วย

ข้อตกลง หลักเกณฑ์การรับเรื่องร้องเรียน / แนะนำติชม

  1. ห้ามพาดพิงหรือเสนอแนะเนื้อหาอันเป็นการวิพากษ์วิจารณ์ หรือ พาดพิงสถาบันพระมหากษัตริย์
  2. ห้ามมีเนื้อหาที่ส่อไปในทางหยาบคาย คำด่า ข้อความลามกอนาจาร ข้อความที่ขัดต่อกฏหมาย หรือ ศีลธรรมอันดีงาม
  3. ห้ามพาดพิง หรือมีเจตนาก่อให้เกิดความเสียหาย และเสื่อมเสียต่อบุคคล กลุ่มบุคคล องค์กร
  4. กรุณากรอกข้อมูลตามความเป็นจริง เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการตรวจสอบข้อเท็จจริง และทางสถาบันฯ/มหาวิทยาลัย ใช้ข้อมูลนี้ในการติดต่อท่าน
  5. หากท่านร้องเรียนผ่านช่องทางนี้ ทางสถาบันฯ/มหาวิทยาลัย จะดำเนินการตามประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่อง แนวทางการจัดการข้อร้องเรียน พ.ศ 2560 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

คำแนะนำ

การติดต่อสอบถาม / ชมเชย / เสนอแนะ / ร้องเรียน ควรมีรายละเอียดให้ครบถ้วนตามที่กำหนด ดังนี้

  1. ควรป้อนข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ – สกุล ที่อยู่ โทรศัพท์ และ อีเมล (e-mail ) ของผู้ส่งที่สามารถติดต่อได้ให้ชัดเจน เพื่อประโยชน์ในการติดต่อกลับ และ ยืนยันข้อมูลการร้องเรียน หรือ ข้อเท็จจริงเพิ่มเติมให้ชัดเจน สามารถดำเนินการต่อไปได้ เพื่อรายงานผลกลับไปยังท่านต่อไป
  2. สำหรับข้อมูลของท่านจะถูกเก็บเป็นความลับอย่างที่สุด
  3. กรณีที่ไม่เปิดเผยชื่อ – สกุลจริง ถือว่าเป็น บัตรสนเท่ห์” ซึ่งหากไม่ระบุพยานหลักฐานชัดเจนเพียงพอที่จะดำเนินการสืบสวนข้อเท็จจริงได้ทางสถาบันฯ/มหาวิทยาลัยอาจไม่รับ หรือ ยกเรื่องร้องเรียนดังกล่าวขึ้นพิจารณาได้

การพิจารณาในการกำหนดชั้นความลับและคุ้มครองบุคคลที่เกี่ยวข้อง

การพิจารณาในการกำหนดชั้นความลับ และคุ้มครองบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น จะต้องปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544  และการส่งเรื่องให้หน่วยงานพิจารณานั้น ผู้ให้ข้อมูล ผู้ร้องและผู้ถูกร้อง อาจจะได้รับความเดือดร้อน เช่น ข้อร้องเรียนกล่าวโทษ ในเบื้องต้นให้ถือว่าเป็นความลับทางราชการ การแจ้งเบาะแสผู้มีอิทธิพล ต้องปกปิดชื่อและที่อยู่ผู้ร้อง หากไม่ปกปิดชื่อ ที่อยู่ ผู้ร้องจะต้องแจ้งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ และให้ความคุ้มครองแก่ผู้ร้องด้วย