Search
Close this search box.
Analytical Sciences and National Doping Test Institute
Analytical Sciences and National Doping Test Institute
Analytical Sciences and National Doping Test Institute
Previous slide
Next slide

สถาบันวิทยาศาสตร์การวิเคราะห์และตรวจสารในการกีฬา ได้รับการรับรอง Accredited Laboratory จากองค์กรต่อต้านการใช้สารต้องห้ามโลก หรือ World Anti-Doping Agency (WADA)

สถาบันวิทยาศาสตร์การวิเคราะห์และตรวจสารในการกีฬา ได้รับการรับรอง National Association of Testing Authorities (NATA) แห่งประเทศออสเตรเลีย

สถาบันฯบนสื่อออนไลน์ | Institute on Online media

ทำความรู้จัก “ศูนย์โด๊ป” หนี่งเดียวในไทย
ยกระดับนักกีฬาไทยสู่ระดับสากล

เผยทั่วโลกตรวจเจอ “สารโด๊ป” ในนักกีฬา 1% หวั่นวิธีการแบบใหม่แยบยลมากขึ้น ต้องเร่งวิจัยพัฒนาวิธีตรวจจับให้ทัน !

งานท้าทายความสามารถ “ศูนย์โด๊ป” นักกีฬาอัดเลือดเข้าร่างเติมยีนให้อึด

ศาลอาญากรุงเทพใต้ ให้การต้อนรับนักศึกษาและอาจารย์ สถาบันวิทยาศาสตร์การวิเคราะห์และตรวจสารในการกีฬา มหาวิทยาลัยมหิดล

Justin Brownlee helped lead the Philippines to basketball gold ©Getty Images

MoU of IADO with National Doping Control Center (NDCC) of Thailand

ข่าวสารรอบโลก | News

Justin Brownlee helped lead the Philippines to basketball gold ©Getty Images

Substance Profile: Spironolactone is Prohibited in Sport

Justin Brownlee helped lead the Philippines to basketball gold ©Getty Images

Two gold medallists announced among Hangzhou 2022 drug positives

Dried Blood Spot (DBS) Testing – Athlete Q & A

หลักสูตรของเรา

         วิทยาศาสตร์การวิเคราะห์ คือ ศาสตร์แห่งการแยกแยะเพื่อตรวจจับ (Detection) และการวัด (Measurement) ซึ่งในชีวิตประจำวันของเรานั้นได้รับประโยชน์จากงานวิทยาศาสตร์การวิเคราะห์อยู่ตลอดเวลา นับตั้งแต่การตรวจสอบความบริสุทธิ์ของยา ไปจนถึงการตรวจสอบของเสียจากอุตสาหกรรม หรือการวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการทางนิติวิทยาศาสตร์ ในโลกปัจจุบันที่อัดแน่นไปด้วยข้อมูลมหาศาล นักวิทยาการวิเคราะห์สามารถแยกแยะหรือเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อช่วยทำความเข้าใจและหาความหมายจากข้อมูลดังกล่าว ซึ่งจะนำไปสู่วิธีการแก้ปัญหาสำคัญ ๆ ที่เกิดขึ้นกับโลกใบนี้ได้

         หลักสูตรนี้มุ่งเน้นภาคปฏิบัติ โดยผู้เรียนจะได้เรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติของการวิเคราะห์ทางเคมีและชีววิทยา และได้รับประสบการณ์จริงในห้องปฏิบัติการ ซึ่งจะสร้างความเชี่ยวชาญด้านการวิเคราะห์ทางเคมีหรือทางชีววิทยาให้กับผู้เรียนได้ภายใน 2 ปี

         นอกจากนี้ ทางหลักสูตรยังมีการเปิดอบรมระยะสั้น

  • เทคนิคการวิเคราะห์และการใช้เครื่องมือระดับสูง เช่น GC/C/IRMS และ LC-HRMS (Orbitrap)
  • ด้านข้อกำหนดและการปฏิบัติตามมาตรฐานสากล โดยผู้เชี่ยวชาญจากภาครัฐและภาคเอกชน

ข้อตกลง หลักเกณฑ์การรับเรื่องร้องเรียน / แนะนำติชม

  1. ห้ามพาดพิงหรือเสนอแนะเนื้อหาอันเป็นการวิพากษ์วิจารณ์ หรือ พาดพิงสถาบันพระมหากษัตริย์
  2. ห้ามมีเนื้อหาที่ส่อไปในทางหยาบคาย คำด่า ข้อความลามกอนาจาร ข้อความที่ขัดต่อกฏหมาย หรือ ศีลธรรมอันดีงาม
  3. ห้ามพาดพิง หรือมีเจตนาก่อให้เกิดความเสียหาย และเสื่อมเสียต่อบุคคล กลุ่มบุคคล องค์กร
  4. กรุณากรอกข้อมูลตามความเป็นจริง เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการตรวจสอบข้อเท็จจริง และทางสถาบันฯ/มหาวิทยาลัย ใช้ข้อมูลนี้ในการติดต่อท่าน
  5. หากท่านร้องเรียนผ่านช่องทางนี้ ทางสถาบันฯ/มหาวิทยาลัย จะดำเนินการตามประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่อง แนวทางการจัดการข้อร้องเรียน พ.ศ 2560 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

คำแนะนำ

การติดต่อสอบถาม / ชมเชย / เสนอแนะ / ร้องเรียน ควรมีรายละเอียดให้ครบถ้วนตามที่กำหนด ดังนี้

  1. ควรป้อนข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ – สกุล ที่อยู่ โทรศัพท์ และ อีเมล (e-mail ) ของผู้ส่งที่สามารถติดต่อได้ให้ชัดเจน เพื่อประโยชน์ในการติดต่อกลับ และ ยืนยันข้อมูลการร้องเรียน หรือ ข้อเท็จจริงเพิ่มเติมให้ชัดเจน สามารถดำเนินการต่อไปได้ เพื่อรายงานผลกลับไปยังท่านต่อไป
  2. สำหรับข้อมูลของท่านจะถูกเก็บเป็นความลับอย่างที่สุด
  3. กรณีที่ไม่เปิดเผยชื่อ – สกุลจริง ถือว่าเป็น บัตรสนเท่ห์” ซึ่งหากไม่ระบุพยานหลักฐานชัดเจนเพียงพอที่จะดำเนินการสืบสวนข้อเท็จจริงได้ทางสถาบันฯ/มหาวิทยาลัยอาจไม่รับ หรือ ยกเรื่องร้องเรียนดังกล่าวขึ้นพิจารณาได้

การพิจารณาในการกำหนดชั้นความลับและคุ้มครองบุคคลที่เกี่ยวข้อง

การพิจารณาในการกำหนดชั้นความลับ และคุ้มครองบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น จะต้องปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544  และการส่งเรื่องให้หน่วยงานพิจารณานั้น ผู้ให้ข้อมูล ผู้ร้องและผู้ถูกร้อง อาจจะได้รับความเดือดร้อน เช่น ข้อร้องเรียนกล่าวโทษ ในเบื้องต้นให้ถือว่าเป็นความลับทางราชการ การแจ้งเบาะแสผู้มีอิทธิพล ต้องปกปิดชื่อและที่อยู่ผู้ร้อง หากไม่ปกปิดชื่อ ที่อยู่ ผู้ร้องจะต้องแจ้งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ และให้ความคุ้มครองแก่ผู้ร้องด้วย

ข้อตกลง หลักเกณฑ์การรับเรื่องร้องเรียน / แนะนำติชม

  1. ห้ามพาดพิงหรือเสนอแนะเนื้อหาอันเป็นการวิพากษ์วิจารณ์ หรือ พาดพิงสถาบันพระมหากษัตริย์
  2. ห้ามมีเนื้อหาที่ส่อไปในทางหยาบคาย คำด่า ข้อความลามกอนาจาร ข้อความที่ขัดต่อกฏหมาย หรือ ศีลธรรมอันดีงาม
  3. ห้ามพาดพิง หรือมีเจตนาก่อให้เกิดความเสียหาย และเสื่อมเสียต่อบุคคล กลุ่มบุคคล องค์กร
  4. กรุณากรอกข้อมูลตามความเป็นจริง เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการตรวจสอบข้อเท็จจริง และทางสถาบันฯ/มหาวิทยาลัย ใช้ข้อมูลนี้ในการติดต่อท่าน
  5. หากท่านร้องเรียนผ่านช่องทางนี้ ทางสถาบันฯ/มหาวิทยาลัย จะดำเนินการตามประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่อง แนวทางการจัดการข้อร้องเรียน พ.ศ 2560 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

คำแนะนำ

การติดต่อสอบถาม / ชมเชย / เสนอแนะ / ร้องเรียน ควรมีรายละเอียดให้ครบถ้วนตามที่กำหนด ดังนี้

  1. ควรป้อนข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ – สกุล ที่อยู่ โทรศัพท์ และ อีเมล (e-mail ) ของผู้ส่งที่สามารถติดต่อได้ให้ชัดเจน เพื่อประโยชน์ในการติดต่อกลับ และ ยืนยันข้อมูลการร้องเรียน หรือ ข้อเท็จจริงเพิ่มเติมให้ชัดเจน สามารถดำเนินการต่อไปได้ เพื่อรายงานผลกลับไปยังท่านต่อไป
  2. สำหรับข้อมูลของท่านจะถูกเก็บเป็นความลับอย่างที่สุด
  3. กรณีที่ไม่เปิดเผยชื่อ – สกุลจริง ถือว่าเป็น บัตรสนเท่ห์” ซึ่งหากไม่ระบุพยานหลักฐานชัดเจนเพียงพอที่จะดำเนินการสืบสวนข้อเท็จจริงได้ทางสถาบันฯ/มหาวิทยาลัยอาจไม่รับ หรือ ยกเรื่องร้องเรียนดังกล่าวขึ้นพิจารณาได้

การพิจารณาในการกำหนดชั้นความลับและคุ้มครองบุคคลที่เกี่ยวข้อง

การพิจารณาในการกำหนดชั้นความลับ และคุ้มครองบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น จะต้องปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544  และการส่งเรื่องให้หน่วยงานพิจารณานั้น ผู้ให้ข้อมูล ผู้ร้องและผู้ถูกร้อง อาจจะได้รับความเดือดร้อน เช่น ข้อร้องเรียนกล่าวโทษ ในเบื้องต้นให้ถือว่าเป็นความลับทางราชการ การแจ้งเบาะแสผู้มีอิทธิพล ต้องปกปิดชื่อและที่อยู่ผู้ร้อง หากไม่ปกปิดชื่อ ที่อยู่ ผู้ร้องจะต้องแจ้งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ และให้ความคุ้มครองแก่ผู้ร้องด้วย